Jannah Theme License is not validated, Go to the theme options page to validate the license, You need a single license for each domain name.
guest post

ก ส ท ช – เราเป็นกลุ่มเพื่อนที่รักการเขียนและแบ่งปันเรื่องราวของเรา เราผ่านอะไรมาด้วยกันมากมาย และเราต้องการแบ่งปันประสบการณ์ของเรากับคนทั้งโลก เราหวังว่าเรื่องราวของเราจะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ใช้ชีวิตที่ดีที่สุด

เราเป็นกลุ่มเพื่อนที่รักการเขียนและแบ่งปันเรื่องราวของเรา เราผ่านอะไรมาด้วยกันมากมาย และเราต้องการแบ่งปันประสบการณ์ของเรากับคนทั้งโลก เราหวังว่าเรื่องราวของเราจะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้อื่นได้ใช้ชีวิตอย่างดีที่สุด

เราเริ่มต้นบล็อกนี้เพราะเราหลงใหลเกี่ยวกับประเทศไทยและวัฒนธรรมไทย เราต้องการแบ่งปันความรักของเราที่มีต่อประเทศนี้กับคนทั่วโลก และช่วยให้ผู้อื่นได้สัมผัสกับความงามของประเทศไทยผ่านงานเขียนของเรา ตั้งแต่นั้นมา บล็อกของเราได้กลายเป็นแหล่งข่าวประจำวันและหัวข้อยอดนิยมในประเทศไทย ผู้อ่านของเราไว้วางใจเราในการรายงานอย่างตรงไปตรงมาและเป็นกลางเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศ

ก ส ท ช, /%e0%b8%81-%e0%b8%aa-%e0%b8%97-%e0%b8%8a,

Video: Coronel Jesuíno,Vá se lavar, eu tapo o nariz.

Related Articles

เราเริ่มต้นเว็บไซต์นี้เพราะเรารักประเทศไทยและเราต้องการแบ่งปันความรักของประเทศของเรากับคนทั่วโลก เราคิดว่าประเทศไทยเป็นสถานที่ที่สวยงามและน่าสนใจที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเราต้องการที่จะแสดงให้ผู้คนเห็นว่าสิ่งใดที่ทำให้ที่นี่มีความพิเศษ

เราอัปเดตไซต์ของเราทุกวันด้วยเรื่องราวและรูปภาพใหม่ๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถติดตามข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เราคือทีมนักเขียนและนักวิจัยที่กระตือรือร้นและมุ่งมั่นที่จะนำเสนอข่าวสารล่าสุดจากประเทศไทยให้กับคุณ ไม่ว่าจะเป็นข่าวด่วน ข่าวซุบซิบ หรือแค่สิ่งที่น่าสนใจที่เราคิดว่าคุณจะชอบ เราจะโพสต์ไว้ในบล็อกของเราอย่างแน่นอน เราอัปเดตทุกวัน ดังนั้นอย่าลืมกลับมาตรวจสอบบ่อยๆ!

ก ส ท ช, 2012-09-01, Coronel Jesuíno,Vá se lavar, eu tapo o nariz., Coronel Jesuíno mostrando como é delicado e sabe como tratar uma mulher. kkkkkkkkkkk
Gabriela – Globo, Deborestxd

,

ประวัติ[แก้]

พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หน้าอาคารสำนักงาน กสทช.

กรมไปรษณีย์โทรเลข[แก้]

เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ การจัดตั้งกรมไปรษณีย์ขึ้น และในช่วงเวลาเดียวกันการสื่อสารทางโทรเลขเริ่มเข้ามามีบทบาทในประเทศไทย จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งกรมโทรเลขขึ้นด้วย โดยได้รับช่วงงานโทรศัพท์จากกรมกลาโหม ต่อมากิจการไปรษณีย์และโทรเลขต้องอาศัยซึ่งกันและกัน มีความสอดคล้องกันอย่างใกล้ชิด ในปี พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมทั้งสองเข้าด้วยกันเป็น กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยมีสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภาณุรังสีสว่างวงศ์ ดำรงตำแหน่งอธิบดีพระองค์แรก[1]

นับแต่นั้นมากิจการไปรษณีย์โทรเลขทั้งในและต่างประเทศได้เจริญพัฒนามาเป็นลำดับ ทำหน้าที่เป็นสื่อกลางของการติดต่อสื่อสารทั่วราชอาณาจักร หลังจากที่ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหภาพสากลไปรษณีย์ (UPU) และสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) ทำให้มีการประสานงานเชื่อมต่อการให้บริการระหว่างประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีบริการหลัก 3 ด้าน ได้แก่ บริการไปรษณีย์ บริการการเงิน และบริการโทรคมนาคม โดยเฉพาะส่วนงานด้านโทรคมนาคมมีการพัฒนาและใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

จากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในกรมไปรษณีย์โทรเลข โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปี พ.ศ. 2477 ได้มีการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการสื่อสารหลายฉบับ แต่ฉบับหลักคือพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 และพระราชบัญญัติโทรเลขและโทรศัพท์ พ.ศ. 2477 ส่งผลให้มีการปรับองค์กรให้เหมาะสมกับสภาพการณ์หลายครั้ง และมีการแยกงานสำคัญ ๆ ออกไปจัดตั้งเป็นหน่วยบริการหลายหน่วย เพื่อให้หน่วยงานเหล่านั้นมีโอกาสพัฒนาสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับองค์กรและสนองตอบความต้องการของประชานชนได้อย่างเพียงพอ ได้แก่

ต่อมาเมื่อมีการบังคับใช้พระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 จึงมีการแยกส่วนงานของกรมไปรษณีย์โทรเลขอีกครั้ง คือ[1]

  • งานระดับปฏิบัติการทางด้านไปรษณีย์และโทรคมนาคม แยกไปขึ้นอยู่กับรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นใหม่ คือ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (ซึ่งต่อมาในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2546 ได้แยกออกเป็น บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (ควบรวมกิจการกับทีโอที จัดตั้งเป็น บมจ.โทรคมนาคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564)) ซึ่งมีหน้าที่ให้บริการด้านการสื่อสารแก่สาธารณะ ทั้งบริการไปรษณีย์ โทรคมนาคม และบริการการเงิน
  • กรมไปรษณีย์โทรเลขรับผิดชอบงานนโยบาย และมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารคลื่นความถี่วิทยุ งานนโยบาย งานวิชาการ งานวิจัยพัฒนา และงานที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทั้งในและระหว่างประเทศ

กทช. และ กสช.[แก้]

เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2543 (พ.ร.บ. กสท. 2543) จึงมีการโอนกิจการของกรมไปรษณีย์โทรเลขไปสู่สำนักงานคณะกรรมการจำนวน 2 องค์กร ดังต่อไปนี้

  • 19 มกราคม พ.ศ. 2545 มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกายุบกรมไปรษณีย์โทรเลข กระทรวงคมนาคม พุทธศักราช 2545 กรมฯ จึงโอนถ่ายบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้ หน้าที่ ความรับผิดชอบ การปฏิบัติงานทั้งหมด ไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (สำนักงาน กทช.) ส่วนในด้านกิจการไปรษณีย์ และเงินงบประมาณทั้งเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการกับลูกจ้างซึ่งยังมีผลครอบครองอยู่ พร้อมกับกลุ่มบุคคลเดิม ไปเป็นของสำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม ในมาตรา 82, 83, 84
  • ส่วนในด้านของกรมประชาสัมพันธ์ ได้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ งบประมาณ การปฏิบัติงานทั้งหมด ในส่วนของกองงานคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี ไปเป็นของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ (สำนักงาน กสช.) ส่วนในด้านงบประมาณทั้งเงินเดือนและค่าจ้างของข้าราชการกับลูกจ้างซึ่งยังมีผลครอบครองอยู่ พร้อมกับกลุ่มบุคคลเดิม ให้ยังคงไว้กับกรมประชาสัมพันธ์อยู่เช่นเดิม ในมาตรา 85, 86

ทั้งนี้ หลังจากกรมไปรษณีย์โทรเลข ถูกยุบเลิกเป็น สำนักงาน กทช. ตามพระราชกฤษฎีกาเป็นที่เรียบร้อยแล้วนั้น ก็ได้มีการโอนกิจการไปรษณีย์ทั้งหมดที่เหลืออยู่ไปขึ้นกับ บจก.ไปรษณีย์ไทยในทันที หลังวันเปลี่ยนผ่านไปสังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นต้นไป (ทั้งนี้ การแปรสภาพโดยสมบูรณ์เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) ส่วนงานโทรเลขก็ได้ดำเนินการจนถึงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2551 โดย กสท.โทรคมนาคม ว่าจ้าง บจก.ไปรษณีย์ไทยในการดำเนินการ[4]

กสทช.[แก้]

แต่ต่อมา พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2553 (พ.ร.บ. กสทช. 2553) มีการประกาศบังคับใช้ ทำให้มีการรวมคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด คือ กทช. และ กสช. ไปจัดตั้งใหม่เป็น กสทช. แทน และในวันที่ 20 ธันวาคม ปีเดียวกัน ได้บังคับใช้ พ.ร.บ. กสทช. 2553 จึงมีประกาศเปลี่ยนแปลงสำนักงาน กทช. มาเป็นสำนักงาน กสทช. ขึ้นมาดำเนินงานจนถึงปัจจุบัน[5]

ในปีเดือนวันที่ 1 สิงหา​คม พ.ศ. 2564 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา​ แต่งตั้ง นายไตรรัตน์​ วิริยะ​ศิริกุล​ ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการด้านการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในส่วนที่เกี่ยวกับการสื่อสารในอินเทอร์เน็ต ​ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรี​ที่ 13/2564 เรื่องการจัดโครงสร้างของศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เพิ่มเติม (ฉบับที่ 6)​

โปรดอ่านเพิ่มเติม ตรวจสอบลิงค์นี้ ก ส ท ช…

“TRUE-DTAC” ควบรวมธุรกิจ วัดใจบอรด์ กสทช. ประชุมวันนี้ควบรวมธุรกิจที่ยืดเยื้อกว่า 9 เดือน บทสรุปออกไปแนวทางไหน

วันนี้ 12 ตุลาคม 2565 วาระประชุมคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. มีวาระเรื่องเพื่อพิจารณา 5.1 การรายงานการรวมธุรกิจระหว่างบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ TRUE และบริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ DTAC  (วาระต่อเนื่อง) (ลับ) โดยจะเริ่มประชุมเวลา 09.30 น. เป็นต้นไป

ถูกบีบรอบด้าน

ก่อนประชุมวาระต่อเนื่อง TRUE-DTAC ในวันนี้ บอร์ด กสทช. ถูกกดดันหลายด่าน ด่านแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 10 ตุลาคมที่ผ่านมา  สภาองค์กรของผู้บริโภค พร้อมเครือข่ายผู้บริโภคกรุงเทพฯ ยื่นหนังสือต่อประธาน กสทช. ให้ยึดมั่นต่อหน้าที่ในการรักษาผลประโยชน์สูงสุดของประชาชน  จากกรณีที่บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด และบริษัทโทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ยื่นคำขอควบรวมธุรกิจต่อ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ตั้งแต่เมื่อปลายปี 2564 และ กสทช. ได้เลื่อนการพิจารณาคำขอควบรวมของทั้งสองบริษัท เพื่อศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ผลกระทบจากการรวมธุรกิจดังกล่าว โดยคาดว่าจะมีวาระในการพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ควบรวม ในวันที่ 12 ตุลาคม 2565 นั้น

สภาองค์กรของผู้บริโภควอนยึดมั่นต่อหน้าที่

นางสาวสุภิญญา กลางณรงค์ ประธานอนุกรรมการด้านการสื่อสาร โทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ สภาองค์กรของผู้บริโภค พร้อมเครือข่ายศูนย์สิทธิผู้บริโภคกรุงเทพมหานคร ได้เดินทางไปยื่นหนังสือต่อ ศ.นพ.สรณ บุญใบชัยพฤกษ์ ประธาน กสทช. ให้ยึดมั่นต่อหน้าที่ในการรักษาผลประโยชน์สูงสุดของประชาชน โดยมี พ.ต.อ.ประเวศน์ มูลประมุข เลขานุการประจำประธานฯ กสทช. และ ศ.พิรงรอง รามสูตร กรรมการ กสทช. เป็นผู้รับจดหมาย นอกจากนี้ยังได้มอบจดหมายให้กำลังใจแก่ ศ.พิรงรอง และกรรมการเสียงข้างน้อย ที่ยืนหยัดทำหน้าที่เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของผู้บริโภค

“TRUE-DTAC” มาแพ็คคู่ไล่บี้บอร์ดรีบพิจารณา

ถัดจากนั้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2565 ทาง TRUE และ DTAC เปิดเกมกดดัน กสทช. ด้วยการเสนอเอกสารเพิ่มเติมให้บอร์ด กสทช.เร่งพิจารณาควบรวมธุรกิจ เพราะแผนควบรวมได้ผ่านการเห็นชอบจากบอร์ดและผู้ถือหุ้น และ ทั้ง 2 บริษัทได้ยื่นขอรวมธุรกิจ มาตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2565 บัดนี้เป็นเวลากว่า 9 เดือน

โดย นายจักรกฤษณ์ อุไรรัตน์ หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านรัฐกิจสัมพันธ์ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ TRUE เปิดเผยว่า แต่ กสทช.ก็ยังไม่พิจารณา จึงมาขอความเห็นใจ เพราะวันนี้ (12 ต.ค) จะมีการประชุมคณะกรรมการ กสทช. จึงอยากให้นำเรื่องนี้มาพิจารณา ถ้ายังไม่มีความคืบหน้าใดๆ จะเกิดความเสีย ต่อผู้บริโภค ลูกค้าทรูและดีแทค ที่จะได้ใช้ประโยชน์โครงข่ายร่วมกัน ทั้งนี้หากคณะกรรมการ กสทช.เห็นว่า การรวมธุรกิจกระทบต่อผู้บริโภคก็ให้บอร์ดกสทช.ออกมาตรการมาบังคับใช้ได้ ซึ่งทั้ง 2 บริษัทพร้อมปฏิบัติ

เหตุผลที่ สภาองค์กรของผู้บริโภค คัดค้านเนื่องจากเกิดการผูกขาดธุรกิจมือถือ และ ผู้บริโภคจะไม่ได้รับประโยชน์จากอัตราค่าบริการ

ขณะที่ทาง TRUE-DTAC ให้เหตุผลว่า ควบรวมธุรกิจจะส่งผลดีต่อธุรกิจ และ ผู้บริโภค  เนื่องจากเครือข่ายครอบคลุมกว่า  49,800 สถานีฐาน เครือข่ายเร็วแรง ครบทุกคลื่น ความถี่ ใช้ได้กับมือถือทุกรุ่น ลูกค้าจะได้รับประสบการณ์ 5G อย่างครอบคลุม  อีเซอร์วิส คอลเซ็นเตอร์กว่า 5,200 คนตลอด 24 ชั่วโมง เป็นต้น

ส่วนทางด้านศาสตราจารย์พิรงรอง รามสูตร กรรมการ กสทช. ระบุว่า จากที่ กสทช. ได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการควบรวมกิจการ ทรู – ดีแทค ทำให้ทราบดีว่าการพิจารณานั้นเกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายฉบับ ตั้งแต่รัฐธรรมนูญ ไปจนถึงพ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ร.บ.จัดสรรคลื่นความถี่ รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพราะฉะนั้น กสทช. ก็ต้องทำงานตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด และหลักการเรื่องประโยชน์สาธารณะรวมถึงการอย่างเสรีและเป็นธรรมก็เป็นหลักสำคัญที่มองข้ามไม่ได้

นอกจากนี้นี้ ศาสตราจารย์ พิรงรอง กล่าวอีกว่า ในวันนี้ (12 ตุลาคม) จะมีการนำวาระเรื่องการควบรวมธุรกิจระหว่างทรู – ดีแทค เข้าที่ประชุม แต่ไม่สามารถยืนยันได้ว่าผลการพิจารณาจะออกเมื่อไร เนื่องจากต้องรอมติที่ประชุม รวมถึงต้องพูดคุยเรื่องรายละเอียดและขั้นตอนที่เกี่ยวข้องด้วย

วันนี้บอร์ดจะมีบทสรุปดีล TRUE-DTAC เป็นอย่างไรน่าติดตามยิ่ง

โปรดอ่านเพิ่มเติม ตรวจสอบลิงค์นี้ ก ส ท ช…

คำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ ก ส ท ช ก ส ท ช

Coronel Jesuno Va se lavar, eu tapo o nariz

.

โดยสรุปแล้ว Thailand Daily News และ Hot News Blog เป็นแหล่งข้อมูลที่ดีสำหรับผู้ที่สนใจติดตามข่าวสารล่าสุดเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย บทความเขียนได้ดีและให้มุมมองที่หลากหลาย บล็อกข่าวเด่นมีประโยชน์อย่างยิ่งเพราะช่วยให้ผู้อ่านส่งเรื่องราวของตนเองได้ ทำให้เป็นทรัพยากรอันมีค่าสำหรับผู้ที่ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประเทศไทยจากผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นั่น

Trả lời

Email của bạn sẽ không được hiển thị công khai. Các trường bắt buộc được đánh dấu *

Back to top button